วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559

แบบทดสอบ

แบบทดสอบ


1. เมื่อทดลองแช่ขวดน้ำมัน A และขวดน้ำมัน B ในตู้เย็น 1 คืน พบว่า น้ำมัน A แข็งตัว แต่น้ำมัน B ยังเป็นของเหลว
พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ 

ข้อใดถูก
ก. เท่านั้น
ข. และ ค. เท่านั้น
ก. และ ค. เท่านั้น
ทั้ง ก. ข. และ ค.



2. น้ำมันพืชที่ใช้ทอดอาหารแล้วเกิดกลิ่นเหม็นหืนมากที่สุด แสดงว่ากรดไขมันที่เป็นองค์ประกอบ ในน้ำมันพืชนั้น มีสูตรโครงสร้างดังข้อใด





3. 
A B และ C น่าจะเป็นสารใด
อะไมเลส มอลเทส กลูโคส
มอลเทส อะไมเลส ฟรักโทส
อะไมเลส มอลเทส ฟรักโทส
มอลเทส อะไมเลส กลูโคส


4. จากตารางคุณค่าทางชีววิทยาของโปรตีนจากแหล่งอาหารบางชนิด

ข้อใดถูก
เนื้อปลา 100 g จะมีโปรตีนอยู่ 75 g
เด็กในวัยเจริญเติบโตควรรับประทานไข่ทุกวัน เพราะมีแหล่งโปรตีนที่ร่างกายสามารถนำไป สร้างเนื้อเยื่อได้ 100 %
อาหารมังสวิรัติประกอบด้วยถั่วลิสงและข้าวสาลีให้โปรตีนไม่ครบองค์ประกอบ เพราะมีคุณค่า ทางชีววิทยาต่ำ
โปรตีนจากแหล่งอาหารปริมาณเท่ากันจะให้พลังงานจากมากไปหาน้อยตามลำดับ คือ ไข่ ปลา ถั่วลิสง ข้าวสาลี


5. ไข่ขาว เนื้อ ไก่ และหอยนางรม ในข้อต่อไปนี้ ข้อใดที่โปรตีน ไม่ ถูกทำลายหรือแปลงสภาพ
ไข่ขาวดิบที่คนไข้กลืนเข้าไปเพื่อขจัดพิษ
เนื้อที่แช่ไว้ในตู้เย็นเพื่อแกงใส่บาตร
ไก่ที่ทอดจนเหลืองกรอบจะปลอดภัยจากไข้หวัดนก
หอยนางรมบีบมะนาวเป็นอาหารโปรดของมนัส


6. การทดสอบสารอาหาร A B C และ D ได้ผลดังตาราง

ถ้านักเรียนต้องดูแลคนไข้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 110 mg ต่อ 100 cm3 ของเลือดและ มีความดันสูง นักเรียนไม่ควรให้อาหารชนิดใดกับคนไข้
A เท่านั้น
C เท่านั้น
A และ D
B และ C


7. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. กรดไขมันในร่างกายคน เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวเป็นส่วนมาก
ข. น้ำมันสัตว์เหม็นหืนง่ายกว่าน้ำมันพืช เพราะไม่มีวิตามิน E ช่วยยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา
ค. อาหารที่ทอดโดยใช้น้ำมันเก่าจะทำให้เศษอาหารที่ตกค้างในน้ำมันไหม้เกรียมสลายเป็น สารก่อมะเร็ง
ง. โรคหัวใจ และอัมพาตมีสาเหตุสำคัญจากการรับประทานอาหารที่มีคอเลสเทอรอลสูง และขาดการออกกำลังกาย
ข้อใดถูก
ก. และ ข. เท่านั้น
ค. และ ง. เท่านั้น
ก. ข. และ ค
ข. ค. และ ง


8. น้ำมันพืชเกิดจากการรวมตัวของสาร 2 ชนิด โครงสร้างของน้ำมันพืชจึงประกอบด้วย 2 ส่วน พิจารณาน้ำมันพืช A และ B ต่อไปนี้

ก. X และ Y ของน้ำมันพืช A และ B เป็นสารชนิดเดียวกัน
ข. กรดไขมันของน้ำมันพืช A เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว
ค. น้ำมันพืช B สามารถเกิดปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนได้
ง. เมื่อเติมสารละลายไอโอดีนลงในน้ำมันพืช A สีของไอโอดีนจะจางลง
ข้อใดถูก
ก. ข. และ ค.
ก. ข. และ ง.
ข. ค. และ ง.
ข. และ ง. เท่านั้น


9. พิจารณาชนิดและหน้าที่ของสารต่อไปนี้

การระบุชนิด และหน้าที่ของสารในข้อใดถูก
ก เท่านั้น
ข และ ง เท่านั้น
ก และ ค
ก ข และ ง


10. จากโครงสร้างของโมเลกุลเพปไทด์ที่กำหนดให้

จำนวนพันธะเพปไทด์ และชนิดของกรดอะมิโน ข้อใดถูก






11. การระบุชนิดของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว และโมเลกุลคู่ต่อไปนี้

ข้อใดถูก
ก. เท่านั้น
ข. เท่านั้น
ข. และ ง.
ก. และ ค


12. ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ มีการนำวัตถุดิบจากธรรมชาติ 3 ชนิด มาทดสอบได้ผลดังตาราง

วัตถุดิบชนิดใด เมื่อนำมาหมักกับยีสต์ จะให้ของเหลวใสติดไฟได้ ใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเชื้อเพลิงแก๊สโซฮอล์
A เท่านั้น
B เท่านั้น
A และ B
B และ C


13. มีคำแนะนำให้รับประทานผักบุ้ง และเต้าหู้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ถ้าอาหารกลางวันมื้อหนึ่ง รับประทานข้าวกับผักบุ้งผักน้ำมัน และแกงจืดเต้าหู้หมูสับ
อาหารมื้อนี้จะได้รับสารชีวโมเลกุลประเภท ให้พลังงานกี่ชนิด อะไรบ้าง
2 ชนิด โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต 4. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลิอิก
3 ชนิด ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต

4 ชนิด ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลิอิก และเซลลูโลส
4 ชนิด ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลิอิก


14. การทดสอบน้ำมัน 4 ชนิด ปริมาณเท่ากันกับทิงเจอร์ไอโอดีน ได้ผลดังนี้

จากข้อมูลข้างต้น จงพิจารณาว่า
( ก ) การบริโภคน้ำมันชนิดใดมีโอกาสเป็นโรคหัวใจขาดเลือดมากที่สุด
( ข ) น้ำมันชนิดใดที่ใช้ทอดอาหารโดยใช้ไฟอ่อนๆ แต่ใช้เวลานาน และผู้บริโภคจะปลอดภัยที่สุด






15. ในการทดสอบอาหารเช้าชุดหนึ่ง ได้ผลดังนี้

อาหารที่นำทดสอบ น่าจะเป็นอาหารชุดใดต่อไปนี้
มันทอด + น้ำอัดลม
สลัดผลไม้ + นมเปรี้ยว
มันฝรั่งบด + น้ำผลไม
ขนมปังทาเนย + นมถั่วเหลือง


16. โปรตีนที่มีสูตรโครงสร้างต่อไปนี้

เฉพาะส่วนที่แสดงนี้ มีพันธะเพปไทด์กี่พันธะ เกิดจากกรดอะมิโนกี่โมเลกุลและมีจำนวนกรดอะมิโน กี่ชนิด เฉพาะส่วนที่แสดงนี้ มีพันธะเพปไทด์กี่พันธะ เกิดจากกรดอะมิโนกี่โมเลกุลและมีจำนวนกรดอะมิโน กี่ชนิด






17. พิจารณาข้อมูลของสาร A B และ C ต่อไปนี้


สาร A B และ C น่าจะเป็นสารใด





18. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. การฉีดอินซูลินเข้าสู่ร่างกายเพื่อเพิ่มปริมาณกลูโคสในเส้นเลือด
ข. อินซูลินมีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการเปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจน
ค. คนที่เป็นเบาหวานแสดงว่าร่างกายมีอินซูลินมากเกินไป
ง. คนที่เป็นโรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้งและน้ำตาล
ข้อใดถูก
ก และ ข
ข และ ง
ค และ ง

ข และ ค


19. แบ่งสารชนิดหนึ่งออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆ กัน และทดสอบดังนี้
ส่วนที่ 1 ทดสอบกับสารละลายไอโอดีน ได้สีม่วง
ส่วนที่ 2 ทดสอบกับกรดไฮโดรคลอริก จากนั้นนำไปต้มและทดสอบด้วยสารละลายเบเนดิกต์ ได้สีฟ้า
ส่วนที่ 3 เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ จากนั้นเติมสารละลายคอปปอร์ซัลเฟต ได้สีฟ้า
สารนี้คืออะไร
น้ำผึ้ง
น้ำส้ม
น้ำเต้าห
น้ำข้าวกล้อง


20. โปรตีนจากสัตว์มีคุณค่าทางอาหารมากกว่าโปรตีนจากพืชเพราะเหตุใด
ให้พลังงานน้อยกว่า
ให้จำนวนกรดอะมิโนจำเป็นมากกว่า
ให้ชนิดกรดอะมิโนจำเป็นมากกว่า
ย่อยได้ง่ายกว่า

😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱😱

ตรวจข้อสอบ

1. 2           2. 4            3. 1          4. 4            5. 2            6. 3             7. 4           

8. 2           9. 3          10. 1        11. 4           12. 3         13. 2           14. 3          

15. 4         16. 2        17. 1        18.1            19. 4        20. 3

บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.8 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

         นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุและสมบัติของธาตุต่างๆ มาแล้ว ต่อไปนี้จะศึกษาธาตุและสารประกอบของธาตุที่สำคัญบางชนิด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์สัตว์และพืช พร้อมทั้งศึกษาถึงผลก...อ่านเพิ่มเติม

บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.7 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
       
        การศึกษาสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ จะช่วยในการทำนายสมบัติของธาตุได้ ถ้ารู้ตำแหน่งของธาตุนั้นในตารางธาตุหรือถ้ารู้สมบัติบางประการของธาตุอาจพิจารณาตำแหน่งของธาตุได้ ดังตัวอย่างการจัดตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนที่ศึกษาม...อ่านเพิ่มเติม


บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.6 ธาตุกัมมันตรังสี
       
        ธาตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เคยศึกษามาแล้ว กล่าวคือสามารถแผ่รังสีแล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้ กา...อ่านเพิ่มเติม


บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.5 ธาตุกึ่งโลหะ
ธาตุกึ่งโลหะ (อังกฤษ: metalloids) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ
โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ โบรอน, ซิลิคอน, เจอร์เมเนียม, สารหนู, พลวงและเทลลูเรียม แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม คาร์บอน, อะลูมิเนียม, ซีลีเนียม,พอโลเนียมและแอสทาทีนไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลห...อ่านเพิ่มเติม


บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.3 ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ

        โดยทั่วๆ ไปการจัดธาตุให้อยู่ในหมู่เดียวกันจะใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนและสมบัติของธาตุเป็นเกณฑ์ ถ้ามีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากันและมีสมบัติต่างๆ คล้ายกันจะจัดว่าอยู่ในหมู่เดียวกัน สำหรับไฮโดรเจนมีเลขอะตอ...อ่านเพิ่มเติม


บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่
 
   3.2.2 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA
         นักเรียนได้ศึกษาปฏิกิริยาของโลหะหมู่ IA และ IIA มาแล้ว ต่อไปจะได้ศึกษาปฏิกิริยาของอโลหะจากข้อมูลแสดงการเปลี่ยนแปลง เมื่อใช้สารละลายคลอรีน โบรมีนและไอโอดีนที่ละลายในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ผสมกับสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ โพแทสเซียมโบรไมด์แ...อ่านเพิ่มเติม


บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.4 ธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชันมีสมบัติคล้ายคลึงกันทั้งในแนวนอนและแนวดิ่ง  ซึ่งทุกธาตุต่างเป็นพวกโลหะ  แต่มีความแตกต่างจากโลหะหมู่  IA  และหมู่  IIA  หลายประการดังนี้
1. ธาตุแทรนซิชัน  เป็นโลหะซึ่งส่วนใหญ่มีจุดหลอมเหลว  จุดเดือด  และความหนาแน่นสูง
2. เวเลนต์อิเล็กตรอนของธาตุแท...อ่านเพิ่มเติม


บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่

    3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IAและIIA
            นักเรียนทราบมาแล้วว่าธาตุหมู่ IA  และ IIA  เป็นโลหะ เมื่อทำปฏิกิริยากับอโลหะแล้วจะเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกเป็นส่วนใหญ่ ในตอนนี้นักเรีย...อ่านเพิ่มเติม



บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่

    3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IAและIIA
            นักเรียนทราบมาแล้วว่าธาตุหมู่ IA  และ IIA  เป็นโลหะ เมื่อทำปฏิกิริยากับอโลหะแล้วจะเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกเป็นส่วนใหญ่ ในตอนนี้นักเรีย...อ่านเพิ่มเติม



บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่

    3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IAและIIA
            นักเรียนทราบมาแล้วว่าธาตุหมู่ IA  และ IIA  เป็นโลหะ เมื่อทำปฏิกิริยากับอโลหะแล้วจะเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกเป็นส่วนใหญ่ ในตอนนี้นักเรีย...อ่านเพิ่มเติม



บทที่3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ
        
           จากการศึกษาสมบัติต่างๆ ของธาตุในตารางธาตุ เช่น ขนาดอะตอม พลังงานไอออไนเซชัน และค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี จะพบว่าสมบัติเหล่านี้มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงจากซ้ายไปขวาในแต่ละคาบ หรือจากบนลงล่างในแต่ละหมู่ค่อนข้างสม่ำเสมอ ต่อไปจะศึกษาสมบัติของส...อ่านเพิ่มเติม


บทที่2 พันธะเคมี

2.3พันธะโลหะ

          พันธะโลหะ ( Metallic Bond ) เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของโลหะหลาย ๆ อะตอมเข้าด้วยกัน เนื่องจากโลหะมีสถานะเป็นของแข็งจึงทำให้มีอนุภาคอยู่รวมกันอย่างหนาแน่นอิเล็กตรอนวงนอกสุดของโลหะจึงหลุดออกจากอะตอมหนึ่ง ๆ เป็นอิสระได้ง่าย อิเล็กตร...อ่านเพิ่มเติม

วันจันทร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2559

บทที่2 พันธะเคมี

2.2 พันธะไอออนิก

       พันธะไอออนิก คือ พันธะที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตระหว่างไอออนบวก(cation) และไอออนลบ(anion) อันเนื่องมาจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากโลหะให้แก่อโลหะ  โดยทั่วไปแล้วพันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างโลหะและอโล...อ่านเพิ่มเติม



บทที่2 พันธะเคมี

2.1 พันธะโคเวเลนต์

       พันธะโคเวเลนต์ (อังกฤษCovalent bond) คือพันธะเคมี ภายในโมเลกุลลักษณะหนึ่ง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากอะตอมสองอะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนหนึ่งคู่หรือมากกว่าร่วมกัน ทำให้เกิดแรงดึงดูดที่รวมอะตอมเป็นโมเลกุลขึ้น อะตอมมักสร้างพันธะโคเวเลนต์เพื่อเติมวงโคจรอิเล็กตรอนรอบนอกสุดให้เต็ม ดังนั้น อะตอมที่สร้างพันธะโคเวเลนต์จึงมักมีเ...อ่านเพิ่มเติม



บทที่1 อะตอมและตารางธาตุ

1.2 ตารางธาตุ

      ตารางธาตุ (อังกฤษPeriodic table) คือ ตารางที่ใช้แสดงรายชื่อธาตุเคมี ซึ่งจัดเรียงบนพื้นฐานของเลขอะตอม (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส) การจัดเรียงอิเล็กตรอน และสมบัติทางเคมี โดยจะเรียงตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะระบุไว้ในร่วมกับสัญลักษณ์ธาตุเคมี ในกล่องของธาตุนั้น ตารางธาตุมาตรฐานจะมี 18 หมู่และ 7 คาบ และมีคาบพิเศษเพิ่มเติมมาอยู่ด้านล่างของตารางธาตุ ตารางยังสามารถเปลี่ยนเป็นการจัดเรียงตา...อ่านเพิ่มเติม


บทที่1 อะตอมและตารางธาตุ

1.1 แบบจำลองอะตอม

       เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก อีกทั้งไม่มีใครเคยมองเห็นอะตอมมาก่อน เมื่อนักวิทยาศาตร์พัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่มีกำลังขยายสูงมากนำมาใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ จึงสามารถถ่ายภาพที่เชื่อว่าเป็นภาพภายนอ...อ่านเพิ่มเติม